เป็นหลักสูตรที่นำเนื้อหาของคอร์ส Mikrotik มาปรับให้สอดคล้องกับวิธีเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิผล นอกจากได้เรียนรู้วิธีกำหนดค่าการทำงาน Mikrotik RouterOS แล้ว ก็ยังคงไว้ซึ่งการปูพื้นฐานและรูปแบบการเรียนรู้ที่มีการเชื่อมโยงจุดต่างๆ ให้เห็นถึงการทำงานที่สอดคล้องกัน เพื่อการต่อยอดในระดับที่สูงขึ้นไป
นอกจากเนื้อหาของ Mikrotik แล้ว คอร์สนี้ยังได้เติมเต็มเนื้อหาเรื่องระบบ Network และวิธีการสื่อสารในระบบเน็ตเวิร์ก เพื่อให้ผู้ที่ยังไม่มีพื้นฐานเน็ตเวิร์กมาก่อนหน้าได้ศึกษาเพิ่มเติม และจัดหัวข้อที่หลายคนได้นำไปใช้งานจริงมาอยู่ในหลักสูตรนี้เพื่อให้สามารถนำไปใช้งานได้ทันที ตั้งแต่การให้บริการ Internet ด้วยความสเถียร, WIFI, การดูแลรักษา Backup/Restore, Upgrade/Downgrade และอื่นๆ ครอบคลุมไปถึงการตั้งค่าระบบ Security ตามการใช้งานจริงเมื่ออุปกรณ์ของเราต้องเชื่อมต่อกับโลกอินเตอร์เน็ตที่อาจจะมีบุคคลแปลกปลอมแวะเวียนข้อความาเยี่ยมเยียน
การเรียนเป็นคอร์ส Video มีความยาวรวม 9 ชั่วโมง 15 นาที มีสไลด์ประกอบการบรรยายกว่า 185 สไลด์ มีไลน์กลุ่มเพื่อสอบถามกรณีมีข้อสงสัยจากการเรียนและจัดส่งเอกสารประกอบการอบรมให้ทางไปรษณีย์
อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการเรียนมีคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง สายแลน 2 เส้น และอุปกรณ์ Mikrotik 1 ตัวค่ะ ใช้ได้ตั้งแต่รุ่นเล็ก ราคาไม่เกิน 800 บาทเช่นรุ่น hAP Lite ได้ค่ะ
ค่าลงทะเบียนคอร์สออนไลน์ : Mikrotik เพื่อใช้งานจริง ระดับ 1 : 3,900 บาท/ท่าน
ลงทะเบียนคอร์สอบรมได้ที่ ลิงค์ https://mikrotiktutorial.com/register/ติดต่อลงทะเบียนอบรม และ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Line ID: @mikrotik https://bit.ly/MikrotikLineOa
Module 1 – พื้นฐาน
- ระบบเน็ตเวิร์ก
- IP Address
- IP Address
- Subnet Mask
- Gateway
- Hosts/Net
- Network/Broadcast
- Unicast/Broadcast/Multicast
- Port
- OSI
- Layer 1
- Layer 2
- MAC Address
- Frames
- Layer 3
- TCP/IP
- บริการพื้นฐานของ Network
- DNS
- DHCP
- NAT
- Masquerade
- Layer 7
- Bridge Mode
- IP Address
- เกี่ยวกับตัว Mikrotik
- ทำความรู้จักกับบริษัท และผลิตภัณฑ์ของ Mikrotik
- Mikrotik ทำงานอย่างไร ทำไมจึงมีความยืดหยุ่นสูง
- การเลือกอุปกรณ์ Mikrotik ให้ตรงกับงาน
Module 2 – NetInstall และ RouterOS Packages
- หน้าที่ NetInstall
- RouterOS
- Package
- หน้าที่ของแต่ละ Package
- System
- อื่นๆ
- Main
- Extra
- หน้าที่ของแต่ละ Package
- Architecture
- RouterOS Release
- Longterm
- Stable
- Beta
- Package
- ทำ Lab NetInstall
Module 3 – การเข้า Config RouterOS
- Network
- Winbox
- Winbox MAC
- SSH
- Webfig
- Console
Module 4 – กำหนดค่าให้ Mikrotik ให้บริการอินเตอร์เน็ตในวงแลน
- สิ่งควรทำก่อนกำหนดค่าต่างๆ ให้ Mikrotik
- กำหนดรหัสผ่านให้ admin
- กำหนด System Identity
- WAN
- 3 สิ่งที่ต้องมี เพื่อใช้เน็ต
- IP Address
- Routing
- DNS
- เชื่อมต่อ Wan ด้วย PPPoE
- เชื่อมต่อ Wan ด้วย DHCP Client
- 3 สิ่งที่ต้องมี เพื่อใช้เน็ต
- LAN
- กำหนด IP Address ให้ Router
- แจก IP Address
- DHCP Server
- ให้บริการ DNS
- ทำ Masquerade
Module 5 – การ troubleshoot เบื้องต้น ปัญหา การตั้งค่าแล้วใช้เน็ตไม่ได้
- เทคนิคการแบ่งระบบออกเป็นส่วนย่อยเพื่อความสะดวกในการหาสาเหตุ
- รู้จัก 2 คำสั่งยอดนิยมที่ใช้เป็นเครื่องมือช่วยหาสาเหตุ ping, ipconfig และ FQDN
Module 6 – การ Maintenance ระบบ
- Backup
- Backup Files
- Export File
- Restore
- การ Upgrade RouterOS
- การ Downgrade RouterOS
- การกดปุ่ม Reset
Module 7 – Bridge
- คืออะไร?
- Hardware Offload – สำคัญมาก ต้องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และลดการทำงานของ CPU
- Hardware Independency
Module 8 – Firewall
- หน้าที่ของแต่ละ Tab
- Filter / NAT / Mangle
- Connection – การเชื่อมต่อทั้งหมดที่ไหลผ่าน Mikrotik ดูได้จากที่นี่
- Connection State ต่างๆ
- วิธีการทำงานของ Firewall
- Sequence
- If – Action
- Filter
- การเลือกใช้ Chain ของ Firewall Filter
- Input
- Forward
- Output
- การเลือกใช้ Action
- Accept
- Drop
- Add to Address List – ทำไมใช้แค่ Accept กับ Drop จึงไม่พอ
- การเลือกใช้ Chain ของ Firewall Filter
Module 9 – การ Forward Port
- IP Firewall NAT
- ความรู้เรื่อง SrcNAT
- ความรู้เรื่อง DstNAT
- Private IP
- Public IP
- Dynamic IP
- Fix IP
Module 10 – Dynamic DNS
- IP Cloud
- Dynamic DNS Provider
Module 11 – การตั้งค่า Wireless เป็น Access Point
- พื้นฐาน Wireless
- มาตรฐานต่างๆ
- ความถี่
- 2.4GHz
- 5GHz
- Bandwidth
- 20/40/80/160
- การกำหนด WIFI Mikrotik ให้ทำงานเป็น Access Point
Module 12 – Security เบื้องต้น – คำว่าเบื้องต้นในบทนี้ ไม่ได้หมายถึงเรื่องง่ายๆ แต่หมายถึงเรื่องที่อย่างน้อยควรมี เมื่อเรานำอุปกรณ์ไปใช้งานจริง
- DNS Amplifier Attack Prevention
- กำหนดให้เข้า Winbox แบบไม่ผ่าน Firewall ในกรณีฉุกเฉินเฉพาะเน็ตเวิร์กผู้ดูแลระบบ
- Limit Access
- Winbox
- Graph
- Service ที่ควรปิด
- การกำหนด User / Password
- Disable หรือลบ admin
Module 13 – ค่าอื่นๆ ที่ควรกำหนดใน Mikrotik ทุกตัว
- ลดการประมวลผลที่ไม่จำเป็น ให้ Mikrotik ทำงานได้เร็วขึ้น
- กำหนด SNTP
- Tools Graph
BONUS
- BONUS 1 – เข้าใจเรื่อง Routing มากขึ้นผ่านกรณีศึกษา
- ทำความเข้าใจการคิดเรื่อง Routing ของ Router ว่าคิดอย่างไร ทำงานอย่างไร ผ่านกรณีศึกษา
- BONUS 2 – กรณีศึกษาทำเน็ตอพาร์ทเม้นท์
- เซ็ตค่าแยกเน็ตเวิร์กเจ้าของกับผู้เช่า ผู้เช่าออกเน็ตได้แต่ไม่สามารถเข้าถึงส่วนเน็ตเวิร์กเจ้าของได้
- BONUS 3 – ตั้งค่า WISP Mode และแชร์เน็ตจากโทรศัพท์มือถือ
- เพื่อแชร์ WIFI จากเน็ตอพาร์ตเม้นท์ เน็ตโรงแรม หรือเน็ตมือถือ ผ่าน WIFI
- ปลดระบบป้องกันการแชร์เน็ตต่อ หากเจ้าของ WIFI ป้องกันการแชร์เน็ตต่อ
- การแชร์จากโทรศัพท์มือถือด้วย USB Tetheringที่ให้ความสเถียร และประหยัดแบตเตอร์รี่ มากกว่าการแชร์ผ่าน WIFI