สรุป เนื้อหาคอร์ส Proxmox Advance 1 โดย อ.ภูเขา พงษ์สุวรรณ
ในคอร์ส Proxmox Advance1 ได้รวมเนื้อหาที่ถ้าศึกษาด้วยตัวเอง น่าจะไม่ได้ใช้เวลาหลายเดือน แต่อาจจะใช้เวลาเป็นปี เป็นเนื้อหาที่…
ในคอร์ส Proxmox Advance1 ได้รวมเนื้อหาที่ถ้าศึกษาด้วยตัวเอง น่าจะไม่ได้ใช้เวลาหลายเดือน แต่อาจจะใช้เวลาเป็นปี เป็นเนื้อหาที่…
อุปกรณ์ Mikrotik รุ่นใหม่ที่รองรับ WiFi6 จะมีหน้าตาวิธีการตั้งค่าที่แตกต่างไปจากเดิม ซึ่งจริงๆ แล้วการตั้งค่าเรียบง่ายตรงไปมามากกว่าเดิม และสามารถที่จะทำ profile เอาไว้เพื่ออะไรที่ซ้ำๆ กันก็กำหนดอ้างอิงร่วมกันจากจุดเดียวกันได้ ทำให้การดูแลภายหลังสะดวกขึ้น
บางส่วนของคลิปบทที่ 7-6 จากคอร์สออนไลน์ Mikrotik Routing and VPN ที่ไม่ได้มีแค่วิธีการสร้าง VPN แต่อธิบายถึงรายละเอียดองค์ประกอบต่างๆ เพื่อให้เข้าใจระบบ Routing และปรับแต่งค่าให้การเชื่อม VPN ออมาเสถียรและวิ่งได้เต็มประสิทธิภาพ
สิ่งที่หลายคนอย่างให้มีใน hAP ax2 มีแล้วใน hAP ax3 นั่นก็คือ 2.5Gbps Ethernet, USB 3.0, สายอากาศ WIFI กำลังสูงขึ้น และอีกหนึ่งปริศนาก็คือ กำลังในการประมวลผลที่ Mikrotik ยังเขียนแบบคลุมเครือ ว่าจริงๆ แล้วมันเร็วเท่ากับ หรือว่าเร็วกว่า hAP ax2 กันแน่ ^_^
คลิปของขวัญปีใหม่จาก อ.ศุภเดช สุทธิพงศ์คณาสัย แก้ปัญหาความไม่สเถียร IP Cloud Mikrotik ด้วยบริการที่ทั้งดีและฟรีของ Cloudflare เพียงแค่มี domain name อยู่แล้ว หรือจะจดใหม่ก็มีค่าใช้จ่ายไม่มาก โดยจะจดกับผู้ให้บริการทั่วไป หรือจะจดกับทาง Cloudflare เลยก็ได้
ช่วงปีใหม่นี้ มาเพิ่มทักษะกับคอร์สออนไลน์เรื่อง Routing กับ VPN กันครับ เนื้อหาจะไม่ได้อยู่แค่เพียงการตั้งค่า แต่จะปูตั้งแต่พื้นฐานที่ควรทราบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและหากพบปัญหาหน้างานที่มีปัจจัยหลากหลายแตกต่างกัน เราจะสามารถไล่หาสาเหตุเพื่อทำให้การตั้งค่าที่ต้องการนั้นลุล่วงไปได้
เราสามารถใช้โปรแกรมช่วยแกะรหัสผ่าน ที่มีความเร็วในการแกะรหัสผ่านสิบล้านรหัสได้ในเวลาไม่ถึง 5 นาทีด้วย CPU หรือ 50 วินาที ด้วย GPU ถ้าอย่างนั้น เราจะตั้งรหัส WiFi อย่างไร ให้มีความความทนทานต่อการใช้โปรแกรมช่วยแกะรหัสผ่านเหล่านี้?
แค่เราไปนั่งอยู่ในบริเวณที่มีสัญญาณ WiFi โดยไม่จำเป็นจะต้องเชื่อมต่อ WiFi เราก็สามารถดึงข้อมูลที่อยู่ในอากาศมาดูได้แล้ว ลองมาดูกันครับว่าข้อมูล WiFi ที่วิ่งอยู่ในอากาศเรามองเห็นอะไรในนั้นบ้าง 😄
หนึ่งใจขั้นตอนที่สำคัญของการสื่อสาร WiFi ให้มีความปลอดภัย ก็คือขั้นตอนการทำ 4way handshake ระหว่างอุปกรณ์กับ Access point – ว่าแต่ขั้นตอนที่ว่านี้มีไว้เพื่อทำอะไร มาฟังคุณเอ็ด ผู้เชี่ยวชาญจาก SiamWireless มาเล่าให้ฟังกันครับ
สัญญาณ WIFI ใครก็สามารถปลอมตัวเข้ามาในระบบเราได้ โดยเราเรียกพวกนี้ว่า Rogue AP ถ้าเราใช้ Access Point เก่งๆ เราจะไม่ใช่แค่เป้านิ่ง แต่สามารถตอบโต้กลับไปได้ด้วย, มาดูขั้นตอนการตอบโต้แบบชัดๆ ใน WireShark โดยคุณเอ็ด จาก Siam Wireless กันครับ 😄